วันอังคารที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2555

รวมบทความ : ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ

รวมบทความ : ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ
หลังวันหยุดเทศกาลขอบคุณพระเจ้า รัฐสภาและฝ่ายบริหารของสหรัฐก็รีบกลับมาที่กรุงวอชิงตันเพื่อเร่งเจรจาหาข้อตกลงเพื่อหลีกเลี่ยงหน้าผาทางการคลัง
เศรษฐกิจโลกยังมีความไม่แน่นอนและความเสี่ยงอยู่หลายประการ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจในปีหน้า ซึ่งอาจประเมินเบื้องต้นได้ดังนี้
TPP RCEP ASEAN+3 ฯลฯ - 19 พฤศจิกายน 2555 04:00
นอกจากข่าวการมาเยือนไทยและร่วมการประชุมผู้นำอาเซียนของประธานาธิบดีโอบามาและนายกรัฐมนตรีเหวิน เจีย เปาแล้ว ข่าวใหญ่คือกระแสต่อต้าน
ประธานาธิบดีโอบามาได้รับเลือกตั้งอีกหนึ่งสมัยด้วยคะแนนเสียงนำนายรอมนีย์มากเกินคาด แต่ผลการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรและการเลือกตั้งหนึ่งในสาม
การหยั่งเสียงส่วนใหญ่สะท้อนว่าคะแนนนิยมของประธานาธิบดีโอบามากับผู้ท้าชิงคือนายรอมนีย์ใกล้เคียงกันมาก
เมื่อวันที่ 24 ต.ค. หนังสือพิมพ์ Nation ลงบทสัมภาษณ์นาย Kevin Tay กรรมการผู้จัดการด้านการวางแผนทรัพย์สินและภาษีของ Julius Baer
หากดูจากIntrade.comที่เปิดให้นักลงทุนเก็งว่าใครจะชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในวันที่ 6 พ.ย.ก็ต้องบอกว่าประธานาธิบดีโอบามาจะชนะเลือกตั้ง
คุยต่อเนื่องข้าว - 15 ตุลาคม 2555 04:00
ในช่วงที่ผ่านมาเรื่องข้าวยังเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจอย่างมาก แบ่งออกได้เป็น 4 ประเด็นหลักคือ ปัญหาเรื่องคอร์รัปชัน
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วครม.ได้อนุมัติการรับจำนำข้าวเปลือกปี 2555/2556 จำนวน 26 ล้านตัน แบ่งเป็นข้าวนาปี 15 ล้านตันข้าวนาปรัง 11 ล้านตัน
เศรษฐกิจโลกหากมองจากแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศหลักคือยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น และจีน ก็ต้องสรุปว่ามีแนวโน้มชะลอตัวลงอย่างเห็นได้ชัด
ผลกระทบของคิวอี 3 - 24 กันยายน 2555 03:35
นโยบายการเงินที่ผ่อนปรนของสหรัฐนั้นเป็นการซื้อเวลา แต่มิได้เป็นการแก้ปัญหาหลักแต่อย่างใด
ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ได้ประกาศมาตรการพิมพ์เงินออกมาซื้อพันธบัตรเป็นครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 13 กันยายน (QE3) ซึ่งทำให้ตลาดหุ้นดีใจ
ครั้งที่แล้วผมได้เปรียบเทียบเงินเฟ้อของไทยและประเทศพัฒนาแล้วในอดีต สรุปว่า เงินเฟ้อไทยกับเงินเฟ้อประเทศพัฒนาแล้วในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา
ครั้งที่แล้วผมกล่าวถึงภูมิหลังของนโยบายการเงินของไทยว่าส่วนใหญ่อาศัยการตรึงค่าเงินบาทกับเงินเหรียญสหรัฐ
ท่านผู้อ่านคงได้เห็นการถกเถียงเกี่ยวกับนโยบายการเงินที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทยในหน้าหนังสือพิมพ์ในช่วงที่ผ่านมา
ช่วงนี้ข่าวเกี่ยวกับยุโรปเบาบางลงไม่ใช่เพราะปัญหาลดน้อยลง แต่เป็นเพราะเป็นช่วงพักร้อน (พักรบ)
เดือนสิงหาคมนั้นเป็นเดือนที่ยุโรปและอเมริกาพักร้อนกัน ในส่วนของสหรัฐนั้นแม้คนส่วนใหญ่จะพักร้อนเดือนกรกฎาคม
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม นาย Mario Draghi ผู้ว่าการธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) กล่าวสุนทรพจน์ต่อนักธุรกิจและนักลงทุนที่กรุงลอนดอน
การเดินทางมาเยือนไทยอย่างเป็นทางการของนายเต็ง เส่ง ประธานาธิบดีพม่านั้น อาจเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ
เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ไอเอ็มเอฟได้ตีพิมพ์รายงานด้านเศรษฐกิจ 3 ฉบับได้แก่ รายงานการประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจโลก รายงานสถานการณ์ทางการเงิน และ
นโยบายการเงินแบบ inflation targeting นั้นอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้ว่านโยบายการเงินแบบอื่นมิได้มีเป้าหมายที่จะทำให้เงินเฟ้อ
ผมขอพักเรื่องเศรษฐกิจยุโรปเอาไว้ก่อนแม้จะมีการมองกันว่าการประชุมผู้นำของกลุ่มประเทศที่ใช้เงินยูโรเมื่อ 29 มิถุนายน จะเป็นก้าวสำคัญ
สำหรับแนวคิดและจุดยืนของเจ้าหนี้หลักอย่างเยอรมนี (ซึ่งต้องออกเงินอย่างน้อย 25% ของเงินที่ได้เอาไปช่วยเหลือประเทศที่มีปัญหาทั้งหมด) นั้น
เป็นเรื่องแปลกที่คนทั้งโลกต้องมาเฝ้าดูผลการเลือกตั้งของกรีซเมื่อ 17 มิถุนายนที่ผ่านมา (ไม่แพ้คนที่เฝ้าดูทีมบอลของกรีซลงสนามในวันเดียวกัน)
ในสัปดาห์นี้ ผู้ที่ติดตามเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจคงจะจับตาดูผลการเลือกตั้งที่ประเทศกรีซ ว่า พรรคการเมืองที่สนับสนุนการดำเนินมาตรการรัดเข็มขัด
แบงก์ออฟอเมริกาเมอร์ริล ลินช์ (BOAML) ซึ่งเป็นพันธมิตรทางธุรกิจของบริษัทหลักทรัพย์ ภัทร ได้ตีพิมพ์บทวิเคราะห์ 2 ฉบับ
ความกังวลที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับปัญหาเศรษฐกิจของประเทศกรีซ ทำให้มีการตั้งคำถามว่าปัญหาดังกล่าวจะส่งผลกระทบประการใดบ้าง
ปัญหายุโรปดูจะปะทุขึ้นอีกครั้งเมื่อผลการเลือกตั้งที่ประเทศกรีซเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ทำให้ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้
เมื่อพูดถึงปัญหานโยบายการคลังเรามักจะนึกถึงประเทศในกลุ่มผู้ใช้เงินยูโร โดยเฉพาะกรีกซึ่งยังไม่สามารถตั้งรัฐบาลผสม เพื่อสานต่อนโยบายรัดเข็มขัด
ตลาดข้าวของโลก - 7 พฤษภาคม 2555 04:00
ในระยะหลังนี้ มีการเขียนข่าวเกี่ยวกับการค้าข้าวออกมามาก ส่วนใหญ่จะกล่าวถึงปัญหาที่ประเทศไทยส่งออกข้าวน้อยลง
นิตยสารรายสัปดาห์ The Economist 2 ฉบับที่ผ่านมามีบทวิเคราะห์ที่น่าสนใจโดยเฉพาะที่วิเคราะห์ถึง การปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่ 3
ขณะที่ไอเอ็มเอฟปรับมุมมองทางเศรษฐกิจในทิศทางที่เป็นบวกขึ้น โดยคาดว่าเศรษฐกิจโลกในปีนี้จะขยายตัว 3.5% (เดิม 3.3%)
ผมเชื่อว่านักเศรษฐศาสตร์เกือบทุกคนจะมองว่าเงินเฟ้อทุกแห่งหน คือ ปรากฏการณ์ทางการเงิน (Inflation is everywhere a monetary phenomenon)
ปัญหาเงินเฟ้อหรือการปรับขึ้นของราคาสินค้าแบบยกแผงอย่างต่อเนื่องนั้น เป็นปัญหาที่สืบเนื่องมาจากการขยายตัวที่สูงเกินไปของปริมาณเงินในระบบ
ข้อมูลที่ปรากฏทำให้สรุปได้ว่าเศรษฐกิจไทยกำลังฟื้นตัวจากผลกระทบของน้ำท่วมเมื่อปลายปีที่แล้ว ตามที่คาดการณ์เอาไว้
เมื่อรัฐบาลจำต้องปรับราคาก๊าซเอ็นจีวีและแอลพีจีเพิ่มขึ้น ก็ทำให้รัฐบาลต้องยอมให้ปรับค่าโดยสารรถแท็กซี่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย
เมื่ออ่านข่าวเราจะเห็นรัฐบาลถูกถามว่าจะมีมาตรการอะไรที่จะช่วยประชาชนไม่ให้ได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น
LTRO 2 คือการซื้อเวลา - 12 มีนาคม 2555 04:00
LTRO ย่อมาจาก Long-Term Refinancing Operations หรือมาตรการปล่อยเงินกู้ระยะยาวเป็นกรณีพิเศษของธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank)
ในช่วง 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมา ราคาน้ำมันในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งๆ ที่สภาวะเศรษฐกิจโดยรวมมิได้ปรับตัวดีขึ้นมากนัก
อิหร่านเป็นเรื่องที่เป็นข่าวอย่างมากในขณะนี้ เพราะเพิ่งประกาศจะไม่ส่งน้ำมันให้กับอังกฤษและฝรั่งเศส
หนี้กองทุนฟื้นฟูฯ - 20 กุมภาพันธ์ 2555 04:00
ผมได้สัญญาเอาไว้ว่าจะเขียนเรื่องหนี้กองทุนฟื้นฟูฯ เมื่อมีความชัดเจนในส่วนของการออกพระราชกำหนด (พ.ร.ก.) และการนำมาปฏิบัติ
เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐในเดือนมกราคมเพิ่มขึ้นถึง 243,000 ตำแหน่ง
การตื่นตัวของพม่า - 6 กุมภาพันธ์ 2555 04:00
ในช่วงหลังนี้ความสนใจเกี่ยวกับพม่าเพิ่มขึ้นอย่างทวีคูณ เพราะพม่ากำลังเปิดประเทศอย่างรวดเร็วและจริงจัง
กลไกตลาดเสรี - 30 มกราคม 2555 04:00
สำหรับผู้ที่เรียนเศรษฐศาสตร์กระแสหลักที่สอนกันในมหาวิทยาลัยเช่นผมนั้นจะมองว่ากลไกตลาดซึ่งเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันโดยเสรีทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
สามีที่เป็น CDO - 23 มกราคม 2555 04:00
ผมเองก็ไม่เคยทราบว่าตำแหน่ง CDO นั้นคืออะไร เพราะเราจะรู้จักแต่ CEO (Chief Executive Officer) หรือ CIO (Chief Investment Officer)
สัปดาห์นี้ผมขอนำเสนอความเห็นของ ศปร. ในส่วนที่เกี่ยวกับปัญหาสถาบันการเงินในกรณีของธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ และการบริหารกองทุนฟื้นฟู
ในช่วงที่ผ่านมา มีข่าวบ่อยครั้งเกี่ยวกับข้อเสนอของ รัฐบาลที่อยากโอนหนี้ 1.14 ล้านล้านบาท
ผมเขียนเรื่องเศรษฐศาสตร์จานร้อนและเศรษฐกิจมาเต็มปีและหลายปีก่อนหน้าจึงอยากให้บทความสุดท้ายเป็นบทความที่ไม่เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจ
เรื่องที่ทำให้ตลาดเงินตลาดทุนหวั่นไหวมากที่สุดในสัปดาห์ที่แล้วน่าจะเป็นเรื่องการจากไปของผู้นำเกาหลีเหนือ
แบงก์ออฟอเมริกาเมอร์ริล ลินช์ มองเศรษฐกิจโลกในปีหน้าไม่ดีนักและเห็นว่าต้องมีความระมัดระวังอย่างมาก
ในระยะหลังนี้การลงทุนมีความผันผวนมาก ล่าสุดเมื่อธนาคารกลางสหรัฐต่ออายุโปรแกรมการปล่อยกู้เงินดอลลาร์ไปถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2013
ครั้งที่แล้วผมสรุปเรื่องหนี้สาธารณะของสหรัฐว่าสหรัฐยังไม่ได้เริ่มแก้ปัญหาดังกล่าวเลยโดยมีประเด็นหลักๆ ดังนี้
เมื่อวันที่ 21 พ.ย.คณะกรรมการร่วมที่แต่งตั้งโดยรัฐบาลสหรัฐเพื่อลดหนี้สาธารณะประกาศว่าคณะกรรมการฯ (ซึ่งสื่อตั้งชื่อว่า Super Committee)
ครั้งนี้จะขอเขียนถึงเรื่องอื่นที่ไม่ใช่ปัญหาหนี้สาธารณะของยุโรป ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าปัญหาเบาบางลงไป
ปัญหาน้ำท่วม ปัญหายุโรป - 14 พฤศจิกายน 2554 04:00
วันนี้ผมขอเขียนถึง 2 เรื่องในบทความเดียวกันเพราะเห็นว่าปัญหาน้ำท่วมที่ประเทศไทยและปัญหาเศรษฐกิจยุโรปนั้นถือได้ว่าเป็นปัญหาใหญ่
ปัญหายุโรปจบแล้วหรือ - 7 พฤศจิกายน 2554 04:00
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาราคาหุ้นปรับเพิ่มขึ้น 5-6% หลังจากผู้นำยุโรปประชุมกันและประกาศว่าได้ตกลงกันในประเด็นหลัก 3 เรื่อง
น้ำท่วมกรุงเทพ - 31 ตุลาคม 2554 04:00
เป็นไปได้ว่าความเสียหายจากน้ำท่วมในปีนี้ในส่วนของจีดีพีที่ลดลงนั้นจะรุนแรงกว่าปี “ปกติ” ประมาณ 10 เท่าตัว
สาเหตุหนึ่งที่เราเห็นดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของไทยปรับตัวเพิ่มขึ้นใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมาทั้งๆ ที่สภาวะน้ำท่วมเลวร้ายขึ้นอย่างต่อเนื่อง
มองเศรษฐกิจโลกปี 2012 - 17 ตุลาคม 2554 04:00
ตารางข้างล่างเป็นการสรุปการคาดการณ์การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกและประเทศหลัก โดยไอเอ็มเอฟและเมอร์ริล ลินช์
บทความนี้ เป็นบทความที่เขียนโดย คุณบรรยง พงษ์พานิช ซึ่งตีพิมพ์ในสื่อออนไลน์ "ไทยพับลิก้า"
บทความนี้ เป็นบทความที่เขียนโดย คุณบรรยง พงษ์พานิช ซึ่งตีพิมพ์ในสื่อออนไลน์ “ไทยพับลิก้า” ผมเห็นว่าเป็นบทความที่น่าสนใจ จึงขอคัดลอกมาให้อ่าน
เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว นอกจากการติดตามการเบิกจ่ายเงินของกรีซ 8 พันล้านยูโร และการประกาศผลการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงินของสหรัฐ
ผมขอหันมาเขียนถึงข่าวเศรษฐกิจในประเทศไทยบ้างหลังจากเขียนถึง ปัญหาเศรษฐกิจโลก มาหลายสัปดาห์ติดต่อกัน
ผมได้อ่านบทความของ รศ.ดร.วิมุต วาณิชเจริญธรรม คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในกรุงเทพธุรกิจวันที่ 8 กันยายน
ต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้ว ที่ผมทิ้งประเด็นไว้ว่า ถ้าประเทศในกลุ่มที่มีการใช้เงินสกุลเดียวกัน มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่สอดคล้องกัน
ทุกวันนี้มีการพูดถึงกันมากเรื่องวิกฤตการณ์หนี้ในยุโรป ที่เริ่มจากกรีซ ที่มีขนาดเศรษฐกิจไม่ต่างจากประเทศไทยนัก และลามไปสู่ ไอร์แลนด์ โปรตุเก
ปัจจุบันมีการนำเสนอโดยรัฐบาลใหม่ให้นำเอาทุนสำรองระหว่างประเทศของไทยมาใช้ประโยชน์
ปัญหาของอเมริกา - 15 สิงหาคม 2554 04:20
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ข่าวใหญ่สำหรับอเมริกา คือ การถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือโดยเอสแอนด์พี จาก AAA เหลือ AA+
ในรอบกว่า 1 ปีที่ผ่านมาเราจะได้รับทราบข่าวเกี่ยวกับปัญหาหนี้สาธารณะของประเทศพัฒนาแล้วมาอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นด้านเศรษฐกิจที่มีการตั้งคำถามกันมาก คือ 1. สถานะและแนวโน้มเศรษฐกิจไทยใน 3-6 เดือนข้างหน้าจะเป็นอย่างไร
โมเดลแยก 2 ตลาดข้าว - 25 กรกฎาคม 2554 04:30
ผมได้อ่านบทความในกรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคมที่ผ่านมาเรื่อง "ชงยิ่งลักลักษณ์วางโมเดลแยก 2 ตลาดข้าว" ซึ่งพอสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
ดังที่เคยกล่าวมาแล้วนักวิเคราะห์มองว่าเศรษฐกิจโลกขณะนี้เข้าสู่สภาวะอ่อนตัวลง (soft patch)
ค่าครองชีพ - 11 กรกฎาคม 2554 04:00
ในช่วงที่ผ่านมาค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นเรื่องที่ประชาชนบ่นถึงกันมาก
ปัจจุบันแนวคิดหลักเกี่ยวกับการบริหารจัดการกับเงินเฟ้อที่สาธารณะได้รับทราบจากธนาคารแห่งประเทศไทยคือการปรับขึ้นดอกเบี้ยไปเรื่อยๆ
นโยบายเศรษฐกิจที่ใช้ในการหาเสียงของพรรคการเมืองในครั้งนี้ พอสรุปได้ คือ
เรื่องเงินสกุลยูโร - 20 มิถุนายน 2554 04:00
เมื่อ 6 มิถุนายน ศ. Kenneth Rogoff แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เขียนบทความเกี่ยวกับปัญหาเงินสกุลยูโรลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ Financial Times
ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐในเดือนพฤษภาคมอ่อนตัวลงอย่างผิดคาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจ้างงานนอกภาคเกษตรซึ่งเพิ่มขึ้นเพียง 54,000 ตำแหน่ง
เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม คอลัมน์แจงสี่เบี้ย เขียนโดยคุณศุกพิณรัศ วงศ์สินศิริกุล เรื่องการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานปัจจุบัน
เมื่อกลางเดือนพฤษภาคม บริษัทบริหารจัดการกองทุนพิมโก้ (Pacific Investment Management Company หรือ PIMCO) ของสหรัฐ
รัฐบาลไทยมีแผนที่จะขายพันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อวงเงิน 20,000-40,000 ล้านบาท ในเดือนกรกฎาคม โดยเป็นพันธบัตรอายุ 10 ปี
เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ได้มีการจัดสัมมนาเชิงวิชาการเกี่ยวกับประเทศไทยที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติของออสเตรเลีย (Austrlian National University)
ใน 6 เดือนที่ผ่านมา ตลาดหุ้นปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อธิบายได้ด้วยเหตุผลต่างๆ เช่น เงินต่างชาติไหลเข้ามาซื้อหุ้น
รัฐบาลได้ตัดสินใจลดภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลค่าเพิ่มน้ำมันดีเซลลงเท่ากับที่เคยให้กองทุนน้ำมันจ่ายเงินอุดหนุนน้ำมันดีเซลประมาณ 6 บาทต่อลิตร
เมื่อ 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ข่าวใหญ่ที่สุดในวงการเศรษฐกิจการเงิน คือ ข่าวการปรับลดมุมมองความน่าเชื่อถือของรัฐบาลสหรัฐโดยเอสแอนด์พี
พรรคการเมืองจะเข้าสู่กระบวนการหาเสียงเพื่อให้ได้มาซึ่งชัยชนะในการเลือกตั้งที่คาดว่าจะเกิดขึ้นภายในต้นเดือนพฤษภาคมนี้
นโยบายการคลัง - 11 เมษายน 2554 04:00
ครั้งที่แล้วผมเขียนถึงนโยบายการเงิน ซึ่งเป็นการกำหนดปริมาณเงินในระบบตลอดจนการควบคุมสถาบันการเงินโดยผู้มีอำนาจ คือ ธนาคารกลาง
นโยบายการเงิน - 4 เมษายน 2554 04:00
บางครั้งยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับนโยบายการคลังกับนโยบายการเงินว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างไร
กลัวปัญหา stagflation - 28 มีนาคม 2554 04:00
เมื่อ 14-16 มีนาคม กรุงเทพโพลล์ทำการสำรวจนักเศรษฐศาสตร์ไทย 65 คน โดยมีผลสำรวจที่น่าสนใจคือนักเศรษฐศาสตร์ 58%
เรื่องบุหรี่ - 21 มีนาคม 2554 04:00
ข่าวเกี่ยวกับบุหรี่ต่างชาติขณะนี้ถกเถียงกันเกี่ยวกับการเก็บภาษีว่าเก็บภาษีน้อยไป เพราะบริษัทต่างชาติตั้งราคาต่ำกว่าจริงหรือเหมาะสมแล้ว
ในปัจจุบันเสียงข้างมากของนักวิเคราะห์พอสรุปได้ดังนี้
ในช่วงหลังนี้จะมีข่าวการแทรกแซงกลไกตลาดของรัฐอยู่หลายเรื่อง เช่น การกำหนดราคาดีเซลไม่ให้เกิน 30 บาทต่อลิตร
ราคาน้ำมัน - 28 กุมภาพันธ์ 2554 04:00
การปรับขึ้นของราคาน้ำมันนั้นมองได้ 2 แบบ คือ การปรับขึ้นแบบ “ดี” คือปรับขึ้นเพราะความต้องการน้ำมันสูงขึ้นเนื่องจากเศรษฐกิจโลกขยายตัวดี
ราคาน้ำมัน - 21 กุมภาพันธ์ 2554 04:00
ในทางปฏิบัติเราจะดูราคาน้ำมันดิบ WTI หรือราคาน้ำมันของ West Texas สหรัฐอเมริกาเป็นราคาอ้างอิงราคาน้ำมันโลก
พลังงานและการขนส่งของไทย - 14 กุมภาพันธ์ 2554 04:00
ครั้งที่แล้วผมสรุปบทวิเคราะห์ของธนาคารโลกเกี่ยวกับอุตสาหกรรมรถยนต์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมดาวเด่นของไทย
อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย - 7 กุมภาพันธ์ 2554 03:00
อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยถือได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นดาวเด่นของประเทศ ทั้งในเชิงของขนาดอุตสาหกรรม (ประมาณ 12% ของจีดีพีหรือ 1.2 ล้านล้านบาท)
ผมเขียนค้างเอาไว้เกี่ยวกับหนี้สาธารณะของสหรัฐ ซึ่งอาจเป็นปัญหาได้ในอนาคต จึงจะขอเขียนต่อให้จบ
เงินเฟ้อ - 24 มกราคม 2554 01:00
เมื่อวันที่ 19 มกราคม หนังสือพิมพ์ Wall Street Journal พิมพ์บทความของศาสตราจารย์ Ron McKinnon ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกรู้จัก
ครั้งที่แล้ว ผมนำเอาบทความของ Jim Quinn มาแปลสรุปซึ่งมีสาระ คือ การกู้เงิน (สร้างภาระหนี้สินให้ลูกหลานในอนาคต) กับการพิมพ์เงินดอลลาร์
ผมได้รับอีเมลบทความเรื่อง “2011-The Year of Catch 22” โดย Jim Quinn จากเว็บไซต์ The Burning Platform ซึ่งมีมุมมองเกี่ยวกับเศรษฐกิจสหรัฐ
ปกติผมจะเขียนเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน แต่ครั้งนี้ผมเห็นว่าบทแรกของหนังสือ False Economy โดย Alan Beattie
ในช่วงปลายปีเก่าถึงต้นปีใหม่ก็จะมีการเขียนถึงแนวโน้มเศรษฐกิจในปีใหม่ แต่ผมขอนำเสนอทางเลือกใหม่ในการมองอนาคตโดยพูดถึงปัจจัยพื้นฐาน
อดัม สมิธ ซึ่งถือได้ว่าเป็นผู้ให้กำเนิดวิชาเศรษฐศาสตร์จากการเขียนหนังสือ “The Wealth of Nations” นั้นในแก่นสารได้นำเสนอแนวคิดหลัก 2 ประการ
ประเทศที่เป็นภาคีกับไอเอ็มเอฟจะมีการประชุมร่วม 2 ฝ่ายเพื่อประเมินสภาวะเศรษฐกิจของประเทศภาคีเป็นประจำทุกปี
ในที่สุดรัฐบาลไอร์แลนด์ก็นำเสนอกรอบนโยบายเพื่อเพิ่มภาษีและลดรายจ่ายที่เข้มงวดอย่างมาก
จีดีพีไตรมาส 3 ขยายตัว 6.7% - 29 พฤศจิกายน 2553 03:00
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ประกาศตัวเลขการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในไตรมาส 3
ในเดือนพฤศจิกายน 2010 นี้ถือได้ว่านอกจากเรื่องมาตรการเพิ่มปริมาณเงินนอกรอบรอบที่ 2 (quantitative easing 2 หรือ QE2) ของธนาคารกลางสหรัฐแล้ว
ธนาคารกลางสหรัฐได้ประกาศการผ่อนคลายปริมาณเงิน (quantitative easing-QE2) รอบ2 เมื่อวันที่ 3 พ.ย. ซึ่งเป็นสิ่งที่คาดการณ์เอาไว้อย่างกว้างขวาง
เมื่อปลายเดือนตุลาคม ธปท.ปรับประมาณการเศรษฐกิจของประเทศไทย
ในช่วงหลังนี้สหรัฐมีจุดยืนชัดเจนว่าเศรษฐกิจโลกยังขาดดุลยภาพ หมายความว่าเศรษฐกิจประเทศพัฒนาแล้วยังขยายตัวช้า (ประมาณ 2%) และมีการว่างงานสูง
ตลาดหุ้นทั่วโลกปรับตัวขึ้นอย่างถ้วนหน้าเพราะคาดหวังกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของธนาคารกลางสหรัฐที่เรียกกันว่าQuantitative Easing รอบ2 หรือQE2
1. ความตึงเครียดทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ขณะนี้ มีการถกเถียงกันมากเรื่องเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นเสนอมาตรการต่างๆ
ผมขอเปลี่ยนหัวข้อการเขียนบทความจากเศรษฐศาสตร์มาเล่าเรื่องอาหารดัดแปลงพันธุกรรม (genetically modified หรือ GM)
เรื่องค่าเงินบาทเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจอย่างต่อเนื่อง เพราะค่าเงินบาทแข็งขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
บทวิเคราะห์ที่จัดทำโดย University of Kentucky, University of Pittsburg และ Vanderbilt University (เคพีวี) พบว่า
ในขณะนี้ ที่สหรัฐอเมริกาความตื่นตัวและการเตรียมตัวเพื่อการเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายนกำลังเข้มข้นขึ้นอย่างต่อเนื่อง
จะเห็นได้ว่าตั้งแต่ต้นปีถึงปลายสิงหาคมเงินบาทแข็งค่าขึ้นถึง 6.2% เทียบกับดอลลาร์ซึ่งแข็งเป็นที่ 3 รองลงมาจากเยนของญี่ปุ่น (9.5%)
ค่าของเงิน - 30 สิงหาคม 2553 03:00
เงินบาทที่แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ทางการ “เป็นห่วง” จนต้องออกมากล่าวว่า ค่าเงินบาทเป็นเรื่องที่จะต้องดูแลให้ “เหมาะสม”
ในช่วง 3-4 สัปดาห์ที่ผ่านมา นักลงทุนปรับเปลี่ยนความสนใจและความกังวลจากสภาวะทางเศรษฐกิจของยุโรปมาจับตามองสภาวะทางเศรษฐกิจของสหรัฐ
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งทำให้การส่งออกของไทยขยายตัวในอัตราสูงและต่อเนื่อง ประกอบกับการขยายตัวของการนำเข้าที่ยังตามหลังการส่งออก
หน้า 11 กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 2 สิงหาคม บทความ "จับกระแส" กล่าวถึง ปัญหาการแบกสต็อกข้าว 5.6 ล้านตัน ของกระทรวงพาณิชย์ว่าเป็นภาระอย่างมาก
เราจะเห็นการแสดงความเห็นตำหนิระบบทุนนิยมเป็นประจำว่าเป็นระบบที่มุ่งแต่จะเอาเปรียบและทำกำไรอย่างขาดคุณธรรม
ที่ผ่านมา ได้มีการถกเถียงกันมากว่าเศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง หรือจะชะลอตัวลงในปลายปีนี้หรือต้นปีหน้า ทำให้การฟื้นตัวเป็นเหมือน "W"
ภาษีมูลค่าเพิ่ม - 19 กรกฎาคม 2553 07:34
สัปดาห์ที่แล้วมีการประโคมข่าวว่ากระทรวงการคลังเสนอแนวทางการปฏิรูปภาษี โดยจะขอเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม “แลก” กับการลดภาษีนิติบุคคลและภาษีบุคคล
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วกระแสข่าวที่รัฐบาลมุ่งมั่นเดินหน้านโยบายประชานิยมและรัฐสวัสดิการดูเหมือนว่าจะเผชิญกับกระแสต่อต้านจากหลายฝ่าย
ในสัปดาห์ที่แล้ว ผมเขียนถึงการประเมินนโยบายการคลังของประเทศอเมริกา และประเทศกลุ่มที่ใช้เงินสกุลยูโรว่าจะตึงตัวขึ้นเป็นลำดับ
เมื่อสัปดาห์ที่แล้วตลาดทุนตื่นเต้นกับการประกาศปรับอัตราแลกเปลี่ยนเงินหยวนให้มีความยืดหยุ่นขึ้นของธนาคารกลางจีน
แม้ว่าเศรษฐกิจโลกในครึ่งแรกของปีนี้จะฟื้นตัวอย่างเห็นได้ชัด(พิจารณาจากตัวเลขการขยายตัวของศก.และตัวเลขการผลิตต่างๆที่ขยายตัวในเกณฑ์สูงทุกปท.)
ผมเชื่อว่าปัญหาหนี้สาธารณะจะเป็นประเด็นที่ต้องติดตามกันอย่างใกล้ชิดใน 3-5 ปีข้างหน้า
ผมเคยกล่าวตั้งแต่ปลายปีที่แล้วว่าตัวเลขเศรษฐกิจทุกตัวของโลก จะสะท้อนการฟื้นตัวอย่างชัดเจนในครึ่งแรกของปีนี้
สัปดาห์ที่แล้ว ผมสัญญาว่าจะกล่าวถึงวิธีประเมินสถานะทางการคลังของรัฐบาล ว่า จะต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรใดบ้าง
ครั้งที่แล้วผมตั้งข้อสังเกต 3 ข้อ
ฝรั่งมีคำพังเพยว่าเงินคือรากฐานของความชั่ว (money is the root of all evils)
ในขณะที่ผมเขียนบทความนี้ประเทศไทยกำลังให้ความสนใจกับข้อเสนอของนายกรัฐมนตรี 5 ข้อ เพื่อนำมาซึ่งการเลือกตั้งภายในวันที่ 14 พฤศจิกายนศกนี้
ไอเอ็มเอฟได้ตีพิมพ์รายงานเสถียรภาพของระบบการเงินของโลก (Global Financial Stability Report) เมื่อวันที่ 20 เมษายน ผมจึงอยากนำบทสรุปมานำเสนอ
ความตึงเครียดทางการเมืองในขณะนี้ ทำให้ประเด็นทางเศรษฐกิจเป็นเรื่องรอง
ครั้งที่แล้วผมเขียนเรื่องค่าเงินหยวนซึ่งผมสรุปว่าหากปล่อยไปตามกลไกตลาด เงินหยวนน่าจะแข็งค่าขึ้นได้อีกมาก
ค่าเงินหยวน - 5 เมษายน 2553 01:00
ปัญหาค่าเงินหยวนนั้นมีประเด็นคล้ายกับปัญหาการดูแลค่าเงินบาท ซึ่งกล่าวได้เป็นพื้นฐานไปในสัปดาห์ที่แล้ว
ค่าเงินบาท - 29 มีนาคม 2553 01:00
เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวว่าภาครัฐเป็นห่วงว่าค่าเงินบาทแข็งจะทำให้ส่งออกได้ลำบากยิ่งขึ้น
คุยเรื่องข้าว - 22 มีนาคม 2553 03:00
เมื่อวันที่ 15 มีนาคม นสพ.ไทยรัฐตีพิมพ์บทวิเคราะห์ปัญหาข้าวของไทยสรุปว่าแทนที่ปีนี้จะเป็นปีทองของข้าวไทยราคาข้าวปัจจุบันกลับปรับตัวลดลง
ปัญหาหนี้สาธารณะ - 15 มีนาคม 2553 03:00
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่กำลังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจากไตรมาส 4 ที่ผ่านมานั้น น่าจะมีแรงผลักดันต่อเนื่องไปถึงกลางปีนี้
การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์ทั่วไปนั้นจะมีสมมติฐานว่ามีข้อมูลสมบูรณ์และมีจำนวนผู้เล่น (ผู้ซื้อ-ผู้ขาย) จำนวนมาก
ต่อเนื่องจากตอนที่แล้ว ผมได้สรุปว่านักเศรษฐศาสตร์ จะเน้นประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ(ทำให้เค้กโตขึ้น) มากกว่าความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ(การแบ่งเค้ก)
วันนี้ผมขอเปลี่ยนแนวมาคุยกันในเชิงทฤษฎี และปรัชญาทางเศรษฐศาสตร์แทนการนำเอาสถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบันมาเล่าสู่กันฟัง
ในช่วงที่ผ่านมา นักลงทุนแสดงความกังวลเกี่ยวกับหนี้สิน ที่ภาครัฐจะต้องรับผิดชอบสำหรับประเทศขนาดเล็ก อาทิเช่น ดูไบ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์
แม้นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่จะประเมินจากการฟื้นตัวที่ชัดเจนขึ้นของเศรษฐกิจโลกว่า น่าจะทำให้ราคาหุ้นในปี 2010 นี้ปรับตัวเพิ่มขึ้น 20-25%
เงินจะเฟ้อหรือเงินจะฝืด - 1 กุมภาพันธ์ 2553 10:05
ในระยะหลังนี้ ผู้บริหารธนาคารแห่งประเทศไทย ออกมาเตือนบ่อยครั้ง ว่า อัตราดอกเบี้ยนโยบายขณะนี้ต่ำกว่าปกติ
หากมองกลับไป เราสามารถสรุปได้ว่าวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปี 2008 ต่อเนื่องมาถึงกลางปี 2009 นั้น
ผมขอขยายความต่อเกี่ยวกับความสำคัญของตลาดทุน และความสำคัญของการพัฒนาตลาดทุนของไทยในการขับเคลื่อนการขยายตัวของเศรษฐกิจ
ประเทศไทยได้จัดทำแผนพัฒนาตลาดทุน 5 ปี (2553-2557) และได้นำเสนอต่อสาธารณชนเมื่อ 2 เดือนที่ผ่านมา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น